บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก 2015

ไร่หญ้าอาดำ

ไร่หญ้าอาดำ จำหน่าย  หญ้านวลน้อย , มาเลเซีย , ญี่ปุ่น , เบอร์บิวด้า ,  เพนทลัม   รับจัดสวน ปูหญ้า     8/6 ม.5  ต.บึงคอไห  อ.ลำลูกกา  จ.ปทุมธานี 12150 เบอร์โทรติดต่อ . 0855542558 มีประสบการณ์​มากกว่า 10 ปี ราคาตกลงกันได้ คุยต่อรองได้ครับ

ความลึกของดิน

รูปภาพ
 ความลึกของดิน (effective soil depth)  หมายถึงความหนาของดินนับจากชั้นผิวดินลงไปจนถึงชั้นดินที่ขัดขวางต่อการเจริญเติบโตหรือการชอนไชของรากพืช  ซึ่งมีผลทำให้รากพืชชะงักงัน ไม่สามารถเจริญเติบโตได้ตามปกติ โดยทั่วไปดินที่มีความเหมาะสมสำหรับการเพาะปลูกควรมีความลึกไม่น้อยกว่า 1 เมตร ขึ้นไป  ดินตื้นมาก  คือ ดินที่มีความหนาไม่เกิน 25 เซนติเมตร นับจากผิวหน้าดินลงไป  ดินตื้น  คือ ดินที่มีความหนาตั้งแต่ 25-50 เซนติเมตร นับจากผิวหน้าดิน  ดินลึกปานกลาง  คือ ดินที่มีหนาตั้งแต่ 50-100 เซนติเมตร นับจากผิวหน้าดิน  ดินลึก-ลึกมาก  คือ ดินที่มีความหนามากกว่า 100 เซนติเมตร นับจากผิวหน้าดินลงไป อ้างถึง: ความลึกของดิน http://osl101.ldd.go.th/easysoils/s_type.htm

ชั้นของดิน

รูปภาพ
ชั้นของดิน  การแบ่งชั้นดินอาศัยการสังเกตจากพื้นที่หน้าตัดด้านข้างของดิน โดยแบ่งออกเป็น 5 ชั้น ได้แก่ ชั้นโอ ชั้นเอ ชั้นบี ชั้นซี และชั้นอาร์ ดังภาพประกอบ ดินแต่ละชั้นมีลักษณะแตกต่างกันเนื่องจากสมบัติทางกายภาพ เคมี ชีวภาพ และลักษณะอื่นๆ เช่นสี โครงสร้าง เนื้อดิน การยึดตัว และความเป็นกรดเป็นด่างของดินแตกต่างกัน ชั้น โอ (O-horizon)  เป็นช่วงชั้นดินที่มีสารอินทรีย์สะสมตัวอยู่มาก มักมีสีเทาหรือเทาดำ ชั้น เอ (A-horizon)  เป็นเขตการซึมชะ (Zone of Leaching) เป็นชั้นที่น้ำซึมผ่านจากชั้นบน แล้วทำปฏิกิริยากับแร่ บางชนิด เกิดการสลายตัวของแร่ สารละลายที่ได้จะซึมผ่านลงไปสะสม ตัวในชั้นต่อไปทำให้ดินชั้นนี้ มีสีจาง ชั้น บี (B-horizon)  เป็นเขตการ สะสมของแร่ในชั้นดิน ( Zone of Accumulation ) เป็นชั้นที่มีการตกตะกอน และสะสมตัวของแร ่จากสาร ละลายที่ไหลลงมาจากชั้น เอ ชั้นดิน มักมีสีแดง หรือน้ำตาลแดงตามสีแร่ที่มาสะสมตัวอยู่ ชั้น ซี (C-horizon)  เป็นชั้นหินผุ (Weathered rock) ที่หินบางส่วนผุพัง กลายเป็นดินปะปนกับเศษหิน ที่แตกหัก มาจากชั้นหินดานเดิม ชั้น อาร์ (R-horizon)  เ...

สีของดิน

รูปภาพ
สีของดิน.. เป็นสมบัติของดินที่สามารถมองเห็นได้ชัดเจนกว่าสมบัติอื่นๆ  ดินแต่ละบริเวณจะมีสีที่แตกต่างกันไป เช่น   สีดำ   น้ำตาล   เหลือง   แดง หรือ สีเทา รวมถึงจุดประสีต่างๆ ซึ่งขึ้นอยู่กับชนิดของแร่ที่เป็นองค์ประกอบในดิน สภาพแวดล้อมในการเกิดดิน ระยะเวลาการพัฒนา หรือวัสดุอื่นๆ ที่มีอยู่ในดิน  ดังนั้น...จากสีของดิน เราสามารถที่จะประเมินสมบัติบางอย่างของดินที่เกี่ยวข้องได้ เช่น  การระบายน้ำของดิน อินทรียวัตถุในดิน ระดับความความอุดมสมบูรณ์ของดิน.. .. ดินสีดำ สีน้ำตาลเข้มหรือสีคล้ำ ส่วนใหญ่มักจะเป็นดินที่มีความอุดมสมบูรณ์สูง  เนื่องจากมีการคลุกเคล้าด้วยอินทรียวัตถุมาก โดยเฉพาะดินชั้นบน แต่บางกรณี สีคล้ำของดิน อาจจะเป็นผลมาจากอิทธิพลของปัจจัยที่ควบคุมการเกิดดินอื่นๆ นอกเหนือไปจากการมีปริมาณอินทรียวัตถุในดินมากก็ได้ เช่น ดินที่พัฒนามาจากวัตถุต้นกำเนิดดินที่ผุพังสลายตัวมาจากหินที่ประกอบด้วยแร่ที่มีสีเข้ม เช่น หินภูเขาไฟ และมีระยะเวลาการพัฒนาไม่นาน หรือดินมีแร่แมงกานีสสูง ก็จะให้ดินที่มีสีคล้ำได้เช่นกัน ดินสีเหลืองหรือแดง สีเหลืองหร...

กำเนิดของดิน

รูปภาพ
       การเกิดของดินจะเกี่ยวข้องกับการผุพังสลายตัวของทั้งอินทรียสาร และอนินทรียสาร กับการสังเคราะห์วัตถุใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นจากอิทธิพลของกระบวนการสร้างดินต่างๆ และอยู่ภายใต้อิทธิพลของปัจจัยควบคุมการเกิดดิน โดยทั่วไปมักจะแยกกระบวนการเกิดของดินออกเป็น 2 ลักษณะใหญ่ๆ ด้วยกันคือ กระบวนการทำลายและกระบวนการสร้าง ซึ่งกระบวนการทั้งสองแบบนี้อาจจะเกิดขึ้นพร้อมๆ กัน หรือเกิดกระบวนการทำลายขึ้นก่อนแล้วเกิดกระบวนการสร้างดินตามมาก็ได้       1.กระบวนการทำลาย      หมายถึงกระบวนการที่ทำให้หิน แร่ และสิ่งมีชีวิตต่างๆ เกิดการอ่อนตัวลง สลายตัวเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย หรือเปลี่ยนไปเป็นสารใหม่ และทับถมรวมตัวกันเกิดเป็นวัตถุต้นกำเนิดดินขึ้น ซึ่งอาจเกิดอยู่กับที่ หรืออาจถูกพาหะต่างๆ พัดพาออกไปจากที่เดิมและไปสะสมรวมตัวกันใหม่ในแหล่งอื่นก็ได้               2.กระบวนการสร้างตัวของดิน        คือกระบวนการที่ทำให้เกิดพัฒนาการของลักษณะต่างๆที่ปรากฏอยู่ในดิน เช่น สีดิน เนื้อดิน โครงสร้าง ความเป็นกรดเป็นด่าง รว...

ปัญหาทรัพยากรดิน การแก้ไขปัญหาและการอนุรักษ์

รูปภาพ
ปัญห า ทรัพยากร ดิน ดิน ส่วน ใหญ่ ถูก ทำลาย ให้ สูญ เสีย ความ อุดม สมบูรณ์ หรือ ตัว เนื้อ ดิน ไป เนื่อง จาก การก ระ ทำ ของ มนุษย์และ การ สูญ เสีย ตาม ธรรม ชาติ ทำ ให้ เรา ไม่ อาจ ใช้ ประ โยชน์ จาก ดิน ได้ อย่าง เต็ม ประสิทธิภาพ การ สูญ เสีย ดิน เกิด ได้ จาก 1. การ กัดเซาะและ พัง ทลาย โดย น้ำ น้ำ จำนวน มาก ที่ กระ ทบ ผิว ดิน โดย ตรง จะ กัดเซาะผิว ดิน ให้ หลุด ลอย ไป ตาม น้ำ การ สูญ เสีย บริเวณ ผิว ดิน จะ เป็น พื้น ที่ กว้าง หรือ ถูก กัดเซาะเป็น ร่อง เล็ก ๆ ก็ ขึ้น อยู่กับความ แรง และ บริเวณ ของ น้ำ ที่ ไหล บ่า ลง มาก 2. การ ตัด ไม้ ทำลาย ป่า การ เผา ป่า ถาง ป่า ทำ ให้ หน้า ดิน เปิด และ ถูก ชะ ล้าง ได้ ง่ายโดย น้ำ และ ลม เมื่อ ฝน ตก ลง มา น้ำ ก็ ชะ ล้าง เอา หน้า ดิน ที่ อุดม สมบูรณ์ ไปกับน้ำ ทำ ให้ ดิน มี คุณภาพ เสื่อม ลง 3. การ เพาะ ปลูก และ เตรียม ดิน อย่าง ไม่ ถูก วิธี การ เตรียม ที่ ดิน ทำ การ เพาะ ปลูก นั้น ถ้า ไม่ ถูก วิธี ก็ จะ ก่อ ความ เสีย หายกับดิน ได้ มาก  ตัวอ ย่าง เช่น การ ไถ พรวน ขณะ ดิน แห้ง ทำ ให้ หน้า ดิน ที่ สมบูรณ์ หลุด ลอย ไปกับลม ได้ หรือ การ ปลูก พืช บาง...

ประโยชน์และชนิดของดิน

รูปภาพ
ประ โยชน์ ของ ดิน ดิน มี ประ โยชน์ มาก มาย มหาศาล ต่อ มนุษย์ และ สิ่ง มี ชีวิต อื่น ๆ คือ 1. ประ โยชน์ ต่อ การ เกษตร กรรม เพราะ ดิน เป็น ต้น กำเนิด ของ การ เกษตร กรรม เป็น แหล่ง ผลิต อาหาร ของ มนุษย์ ใน ดิน จะ มี อินทรียวัตถุ และ ธาตุ อาหาร รวม ทั้ง น้ำ ที่ จำ เป็น ต่อ การ เจริญ เติบ โต ของ พืชอาหาร ที่ คน เรา  บริโภค ใน ทุก วัน นี้ มา จาก การ เกษตร กรรม ถึง 90% 2. การ เลี้ยง สัตว์ ดิน เป็น แหล่ง อาหาร สัตว์ ทั้ง พวก พืช และ หญ้า ที่ ขึ้น อยู่ ตลอด จน เป็น แหล่ง ที่ อยู่ อาศัย ของ สัตว์ บาง ชนิด เช่น งู แมลง นาก ฯล ฯ 3. เป็น แหล่ง ที่ อยู่ อาศัย แผ่น ดิน เป็น ที่ ตั้ง ของ เมือง บ้าน เรือน ทำ ให้ เกิด วัฒนธรรม และ อารยธรรม ของชุม ชน ต่าง ๆ มาก มาย 4. เป็น แหล่ง เก็บกักน้ำ เนื้อ ดิน จะ มี ส่วน ประกอบ สำคัญ ๆ คือ ส่วน ที่ เป็น ของ แข็ง ได้ แก่ กรวด ทราย ตะกอน และ ส่วน ที่ เป็น ของ เหลว คือ น้ำ ซึ่ง อยู่ ใน รูป ของ ความ ชื้น ใน ดิน ซึ่ง ถ้า มี อยู่ มาก ๆ ก็ จะ กลาย เป็น น้ำ ซึม อยู่ คือ น้ำ ใต้ ดิน น้ำ เหล่า นี้ จะ ค่อย ๆ ซึม ลง ที่ ต่ำ เช่น แม่ น้ำ ลำ คลอง ทำ ให้...

ส่วนประกอบของดิน

รูปภาพ
   ดินสามารถแบ่งส่วนประกอบออกตามความสําคัญที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของพืชได้เป็น  4 ส่วน คือ       1.อนินทรียวัตถุ (Mineral matter) เป็นส่วนที่เกิดจากแร่ธาตุและหินต่าง ๆ ที่สลายตัวทางเคมีทางฟิสิกส์และทางชีวภาพ       2.อินทรียวัตถุ (Organic matter) ได้แก่ส่วนที่เน่าเปื่อยผุพัง หรือสลายตัวของพืช และสัตว์ทับถมกัน ซึ่งอินทรียวัตถุที่สลายตัวสมบูรณ์แล้วเรียกว่า ฮิวมัส (humus)     3.น้ำในดิน (Soil water) น้ำในดินได้มาจากฝนหรือน้ำชลประทาน เมื่อดินได้รับน้ำ น้ำจะแทรกซึม ไล่อากาศออกจากช่องระหว่างเม็ดดินและตัวมันเองไปปรากฏอยู่แทนที่      4.อากาศในดิน (Soil air) ในดินจะมีช่องอากาศบรรจุอากาศในดินเสมอ ซึ่งสัดส่วนจะเป็นปฏิภาคโดยกลับกันกับปริมาณของน้ํา อากาศในดินจะมีก๊าซไนโตรเจนเป็นส่วนใหญ่  แต่จะมีก๊าซออกซิเจนที่ต่ํากว่าในบรรยากาศ        โดยทั่วไปแล้วดินจะมีส่วนประกอบที่เป็นของแข็ง ร้อยละ 50 โดยปริมาตร (อินทรียวัตถุประมาณร้อยละ 45 โดยปริมาตร และอนินทรียวัตถุร้อยละ 5 โด...

ความหมายและความสําคัญของดิน

รูปภาพ
      ความหมายของดิน “ดิน” มีผู้ให้ความหมายและคํานิยามไว้หลายอย่างด้วยกัน เช่น กรมพัฒนาที่ดินให้คํา นิยามว่า ดินหมายถึง เทหวัตถุธรรมชาติที่เกิดจากการสลายตัวของหินและแร่ธาตุต่าง ๆ ผสม กับอินทรียวัตถุซึ่งปกคลุมผิวโลก ดินเป็นวัตถุที่ค้ําจุนการเจริญเติบโต และทรงตัวของพืช ดิน ประกอบไปด้วยแร่ธาตุที่เป็นของแข็ง อินทรียวัตถุน้ําและอากาศ มีสัดส่วนแตกต่างกันขึ้นอยู่กับชนิดของดิน               พจนานุกรมศัพท์ทางภูมิศาสตร์ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายว่า ดิน คือ วัตถุ ที่ทับถมปกคลุมเป็นชั้นบางๆปะปนกันในสภาพของแข็ง ของเหลว และก๊าซผสมผสานกัน มีความสําคัญต่อการดํารงชีวิตของพืช ซึ่งให้ประโยชน์ต่อมนุษย์และสัตว์อีก ดินมีคุณสมบัติแตกต่างกันไปในที่ต่างๆ ของโลก ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง ที่สําคัญคือภูมิอากาศ ภูมิประเทศ ชนิดของหินเปลือกโลกที่ให้กําเนิดดินและระยะเวลาที่ดินมีการเปลี่ยนแปลงวิวัฒนาการ       ความสําคัญของดิน ดินมีความสําคัญต่อพืช สัตว์และมนุษย์ดังนี้       1.ความสําคัญต่อมนุษย์เนื่องจากเป็นแหล่งอาหาร เครื่อ...